ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน FOR DUMMIES

ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน for Dummies

ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน for Dummies

Blog Article

สร้างรายได้เดิมให้มีความแน่นอนมากขึ้น เช่น สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการผลิตในภาคเกษตร เพื่อลดต้นทุนและได้ผลผลิตที่แม่นยำ ใช้ประกันภัยพืชผลเพื่อช่วยลดผลกระทบจากเหตุการณ์ไม่คาดคิด การสร้างอาชีพเสริมเพิ่มทางเลือกและพัฒนาทักษะแรงงานเพื่อรองรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน

ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับการดำรงฐานะและการดำเนินงานของสถาบันการเงิน

กฎหมายที่กำหนดบทบาทหน้าที่ของ ธปท. และกฎหมายที่ ธปท. เข้าไปมีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ในการผลักดันให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายดังกล่าว

นอกจากนี้ ภาระหนี้ในระดับสูงและการถูกตามหนี้เป็นประจำยังส่งผลต่อความเครียด สุขภาวะ และประสิทธิภาพในการทำงานของคนไทยด้วย

หน้าแรก วิจัยและเอกสารเผยแพร่ บทความและเอกสารเผยแพร่ ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน บทความ Article_18Jan2022_2

นโยบายดูแลความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน การกำกับระบบสถาบันการเงิน

ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ ธปท.

สถาบันการเงินและผู้ให้บริการทางการเงินของไทย การกําหนดนโยบายสถาบันการเงินและผู้ให้บริการทางการเงิน แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน การกำกับตรวจสอบสถาบันการเงิน การกำกับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ การให้ความช่วยเหลือสภาพคล่องแก่สถาบันการเงิน ตลาดการเงิน

คุกกี้ที่จำเป็นต่อการใช้งานหรือให้บริการเว็บไซต์

โดยธรรมชาติคนที่ต้องกู้ยืมเงิน โดยเฉพาะเพื่อการอุปโภคบริโภคมักจะขาดกันชนทางการเงินที่จะรองรับเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งจะส่งผลให้คนเหล่านี้ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามกำหนด ต้องโดนคิดเบี้ยปรับหรืออัตราดอกเบี้ยผิดนัดที่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยปกติ ลูกหนี้ส่วนหนึ่งต้องไปกู้เงินนอกระบบที่คิดอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยในระบบมาก หรือใช้วิธีขอกู้เงินเพิ่มจากผู้ให้บริการทางการเงินรายอื่น

กำกับดูแลให้ผู้ให้บริการทางการเงินสามารถทำหน้าที่ตัวกลาง ในการระดมเงินทุนและจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปสู่ภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กฎหมายในความรับผิดชอบของ ธปท./ กฎหมายที่ ธปท. มีส่วนร่วม

ดัชนีและเครื่องชี้เศรษฐกิจการเงินทั้งหมด

หรือในกรณีลูกหนี้เกษตรกรที่หลายรัฐบาลมุ่งทำแต่โครงการพักชำระหนี้เพื่อหวังผลทางการเมืองระยะสั้น โดยไม่ได้ปรับโครงสร้างหนี้ให้เหมาะสมกับความสามารถในการชำระหนี้ของเกษตรกรอย่างแท้จริง ส่งผลให้เกษตรกรไม่สามารถออกจากกับกับดักหนี้ได้จริง มียอดหนี้คงค้างสูงแม้ว่าจะเข้าสู่วัยชรา รวมทั้งอาจส่งผลให้เกษตรกรที่มีความสามารถในการชำระหนี้นำเงินที่ได้จากการพักชำระหนี้ไปใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคแทน

Report this page